Freediver ascending to the surface

Decompression Sickness เกิดกับนักดำน้ำฟรีไดฟ์ได้ไหม?

การดำน้ำแบบฟรีไดฟ์จะมีความเสี่ยงต่ออาการ decompression sickness (DCS) แบบเดียวกับการดำน้ำสคูบ้าหรือไม่? มีตัวอย่างหรืองานวิจัยบ้างแล้วรึเปล่า?

อ่าน Decompression Sickness เกิดกับนักดำน้ำฟรีไดฟ์ได้ไหม?
Skin Eruption Woman

ผื่นคันเวลาไปดำน้ำหรือเล่นน้ำทะเล (Sea Bather’s Eruption หรือ “แตนทะเล” ที่คนไทยนิยมเรียกกัน)

อาการผื่นคันในขณะที่อยู่ในน้ำหรือขึ้นจากน้ำไม่นาน… ที่มักเรียกกันว่าเป็นการคันจาก “แตนทะเล”…….จริงๆแล้วมันมีสาเหตุจากอะไรและมีวิธีการรักษาอย่างไร

อ่าน ผื่นคันเวลาไปดำน้ำหรือเล่นน้ำทะเล (Sea Bather’s Eruption หรือ “แตนทะเล” ที่คนไทยนิยมเรียกกัน)
Images of 4 Marine Animals as New Reserved Wild Life 2019

ประกาศเพิ่มสัตว์ทะเลหายาก 4 ชนิด เป็นสัตว์ป่าสงวน

หลังจากผ่านมติคณะกรรมการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ในวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ให้สัตว์น้ำ 4 ชนิด ได้แก่ 1. วาฬบรูด้า (Bryde’s whale) 2. วาฬโอมูระ (Omura’s whale) 3.ฉลามวาฬ (Whale Shark) 4. เต่ามะเฟือง (Leatherback turtle) เป็นสัตว์ป่าสงวน มาแล้ว เมื่อวานนี้ ราชกิจจานุเษกษา ได้ประกาศ พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2562 ฉบับใหม่ บรรจุสัตว์ทะเลทั้ง 4 ชนิดเป็นสัตว์ป่าสงวนเรียบร้อยแล้ว นับเป็นการประกาศรายช่อสัตว์ป่าสงวนเพิ่มเป็นครั้งแรกในรอบ 27 ปี ทำให้ปัจจุบันนี้ ไทยมีสัตว์ป่าสงวนรวมทั้งสิ้น 19 ชนิดแล้ว เรามารู้จักสัตว์น้ำที่เพิ่มขึ้นใหม่ทั้ง 4 ชนิดกันเถอะ 1. วาฬบรูด้า (Bryde’s whale) ชื่อของมันถูกตั้งให้ผู้ค้นพบมันเป็นคนแรก คือโยฮัน บรูด้า ในปี ค.ศ. 1909 มันถูกจัดว่าเป็นชนิดหนึ่งของวาฬไม่มีฟัน (Baleen Whale) ขนาดใหญ่ที่อาศัยอยู่ในเขตร้อน มักอาศัยอยู่ในทะเลที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 16 องศาเซลเซียส เช่นในทะเลของประเทศไทย โดยในไทยพบว่ามีวาฬบรูด้าอยู่ประมาณ 20 – 25 ตัว โดยพบห่างจากชายฝั่ง 4 – 30 กิโลเมตรของทะเลอ่าวไทย วาฬบรูด้ามีรูปร่างเรียวสีเทาอมฟ้า มีครีบหลังเป็นรูปเคียวโค้งไปทางด้านหลังของลำตัว มีรอยจีบใต้ลำคอขนานกับลำตัวประมาณ 40 – 70 รอย ความยาวสูงสุดของตัวผู้โตเต็มวัยอยู่ที่ 15 เมตร ตัวเมียอยู่ที่ 16.5 เมตร และน้ำหนักสูงสุดอยู่ที่ 40 ตัน แต่ถึงแบบนั้นอาหารของมันกลับมีขนาดเล็ก คือแพลงก์ตอนของสัตว์จำพวกกุ้ง หมึกกระดอง และฝูงปลาขนาดเล็ก มันมักจะหากินเพียงลำพัง ยกเว้นวาฬเด็กที่ออกหากินกับแม่ โดยวิธีการกินอาหารของมันนั้นจะใช้ซี่กรองขนาดใหญ่รูปร่างคล้ายตะแกรงที่อยู่บริเวณขากรรไกรบนของมัน กรองสัตว์ขนาดเล็กๆ เป็นอาหาร โดยวาฬบรูด้าเต็มวัยหนึ่งตัวอาจกินอาหารถึง 590 กิโลกรัมต่อวัน ปัจจุบันพวกมันถูกคุกคามจากมนุษย์จนมีจำนวนลดลงอย่างมาก เนื่องจากปลาและกุ้งขนาดเล็กซึ่งเป็นอาหารของมันมีจำนวนลดลงเพราะมนุษย์ และมนุษย์ยังปล่อยมลพิษทางน้ำ และมลพิษทางเสียงจากการเดินเรือยนต์ บางครั้งมันยังได้รับอุบัติเหตุจากอวนของชาวประมง หรือการขับเรือชนโดยมิได้ตั้งใจอีกด้วย 2. วาฬโอมูระ (Omura’s whale) เป็นวาฬสายพันธุ์หายากที่มีความใกล้เคียงกับวาฬบรูด้า ถูกค้นพบครั้งแรกจากซากของมันในปี ค.ศ. 2003 และเมื่อพิจาณาจากซากแล้วจึงพบว่ามีความต่างจากวาฬบรูด้า กล่าวคือวาฬโอมูระนั้นมีขนาดเล็กกว่า ตัวผู้ที่โตเต็มวัยยาวเพียง 10…

อ่าน ประกาศเพิ่มสัตว์ทะเลหายาก 4 ชนิด เป็นสัตว์ป่าสงวน
Diver Clutching Head

ดำน้ำเสร็จขึ้นมาแล้วปวดหัว?

สาเหตุของอาการปวดหัวหลังการดำน้ำและวิธีการป้องกัน มีหลายปัจจัยที่อาจทำให้เกิดปวดหัว เช่น การออกแรงมากๆ ใต้น้ำ, การควบคุมการลอยตัวและการหายใจไม่ถูกต้อง เรียนรู้เทคนิคที่ถูกต้องในการดำน้ำอาจช่วยลดอาการปวดหัวได้มากขึ้น

อ่าน ดำน้ำเสร็จขึ้นมาแล้วปวดหัว?

เวลาดำน้ำ ใส่หรือไม่ใส่ชุด (เว็ทสูท) ก็เหมือนกันใช่ไหม?

ข้อดีและข้อเสีย เน้นว่าการใส่หรือไม่ใส่เว็ทสูทขึ้นอยู่กับความสะดวกสบายและความพร้อมในการรับมือกับสภาพแวดล้อมใต้น้ำของแต่ละบุคคล และแนะนำให้คำนึงถึงสภาพอากาศในน้ำและความรู้สึกของตัวเองก่อนตัดสินใจใส่หรือไม่ใส่ชุดเว็ทสูทในการดำน้ำ

อ่าน เวลาดำน้ำ ใส่หรือไม่ใส่ชุด (เว็ทสูท) ก็เหมือนกันใช่ไหม?
Diving & Vertigo

เวียนศีรษะ บ้านหมุน (Vertigo) ขณะอยู่ใต้น้ำ

อาการเวียนศีรษะชนิดบ้านหมุน ทรงตัวไม่ได้ คลื่นไส้อาเจียน ที่นักดำน้ำหลายคนเคยประสบกับตัวเอง มีสาเหตุและวิธีการป้องกันครับ

อ่าน เวียนศีรษะ บ้านหมุน (Vertigo) ขณะอยู่ใต้น้ำ
Balloon Burst by a Child

ภาวะเนื้อเยื่อของปอดฉีกขาดจากการลดความกดบรรยากาศ และฟองอากาศอุดตันหลอดเลือดสมอง

ปอดฉีก และฟองอากาศอุดตัดหลอดเลือดสมอง … อันตรายจากการดำน้ำ ที่ป้องกันได้

อ่าน ภาวะเนื้อเยื่อของปอดฉีกขาดจากการลดความกดบรรยากาศ และฟองอากาศอุดตันหลอดเลือดสมอง
Water Bubbles in Gray

Cutaneous DCS, Skin DCS, Skin Bend … คืออะไร

Cutaneous DCS คือ DCS ที่มีอาการแสดงทางผิวหนัง ซึ่งมีสาเหตุหลัก 3 ประการแสดงอาการออกมาให้เราสังเกตเห็นได้ รู้ไว้เพื่อแก้ไขได้ทันท่วงที

อ่าน Cutaneous DCS, Skin DCS, Skin Bend … คืออะไร
Waterdrop

การป้องกันภาวะขาดน้ำในร่างกาย (Dehydration) …. เรื่องง่ายๆ ที่ใครๆ ก็ทำได้

ภาวะขาดน้ำระหว่างการดำน้ำ เกิดขึ้นได้อย่างไร มีวิธีป้องกันอย่างไร รู้ไว้เพื่อการดำน้ำอย่างมีความสุข

อ่าน การป้องกันภาวะขาดน้ำในร่างกาย (Dehydration) …. เรื่องง่ายๆ ที่ใครๆ ก็ทำได้