การใช้ Dive computer ให้ปลอดภัย

ปัจจุบัน dive computer กลายเป็นมาตรฐานในการวางแผนดำน้ำ แต่การพึ่งพา dive computer อย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ เนื่องจากปัจจัยอื่นๆ เช่น ความหนาวเย็นและสภาพร่างกายมีผลต่อความเสี่ยงของ DCS การตั้งค่า Gradient Factor บน dive computer จึงสำคัญเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการดำน้ำ

อ่าน การใช้ Dive computer ให้ปลอดภัย
Imaginary Dive Computer with Mathematics Equations as Background

รู้จักกับอัลกอริธึมคำนวณการดำน้ำในไดฟ์คอมพิวเตอร์

เข้าใจคุณลักษณะของอัลกอริธึมและความแตกต่างระหว่างแต่ละอัน ที่จะช่วยให้เราเลือกไดฟ์คอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับเราได้ดียิ่งขึ้น หรือใช้งานไดฟ์คอมพิวเตอร์ด้วยความเข้าใจความหมายของการตั้งค่าต่างๆ ในนั้นได้ดียิ่งขึ้น

อ่าน รู้จักกับอัลกอริธึมคำนวณการดำน้ำในไดฟ์คอมพิวเตอร์
Blood Cells with Air Bubbles and Physics Equations (as banner for article)

ความเป็นมาของทฤษฎีการลดความกดในการดำน้ำ (Dive Decompression Theory)

ความเป็นมาของการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นกับร่างกายของมนุษย์ ภายใต้ความกดอากาศสูงกว่าปกติ เพื่อออกแบบมาตรการความปลอดภัยในการดำน้ำ

อ่าน ความเป็นมาของทฤษฎีการลดความกดในการดำน้ำ (Dive Decompression Theory)

GF (Gradient Factor) คืออะไร

Gradient Factor (GF) เป็นแนวคิดที่พัฒนาโดย Eric Baker เพื่อปรับปรุงความปลอดภัยในการคำนวณการดำน้ำ โดยใช้ค่า GF low และ GF high เพื่อกำหนดระดับความลึกและเวลาสำหรับการหยุดพักน้ำ (decompression stops) ทำให้นักดำน้ำสามารถปรับแต่งโปรไฟล์การดำน้ำได้เอง

อ่าน GF (Gradient Factor) คืออะไร

Gradient Factors อธิบายแบบง่าย และวิธีใช้

วิธีการกำหนดความปลอดภัยในการดำน้ำโดยใช้ข้อมูลจากอัลกอริทึม Buhlmann โดย GF ช่วยให้นักดำน้ำสามารถกำหนดขีดความลึกได้อย่างละเอียด เช่นในการตั้งค่า Stop แรกและ Deco stop โดยมีตัวเลข 2 ชุด เช่น 45/85 ซึ่งเป็นเปอร์เซ็นต์ของ M value ที่มีผลต่อเวลาและความลึกของการดำน้ำ การปรับ GF สามารถช่วยเพิ่มระดับความปลอดภัยและควบคุมการเดินทางใต้น้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ

อ่าน Gradient Factors อธิบายแบบง่าย และวิธีใช้

Deep Stop: ความสำคัญในการทำการพักน้ำที่ความลึกหลายๆ ขั้น

ขอเริ่มต้นกล่าวถึงผู้เขียน นาย Richard L. Pyle ก่อนว่า เขาเป็นนักวิจัยปลา ต้องลงไปเก็บตัวอย่างปลาที่ความลึกต่างๆ ลึกสุดก็ช่วง 180-220 ฟุตหรือประมาณ 36-66 เมตร ลงบ่อยจนนับจำนวนไดฟ์ไม่ถ้วนแล้ว และเริ่มสังเกตถึงอาการป่วยเหมือนๆ กันที่เกิดหลังดำน้ำ คือหลังจากไดฟ์ก็จะเริ่มรู้สึกเหนื่อยหรือคลื่นเหียนวิงเวียนศีรษะ

อ่าน Deep Stop: ความสำคัญในการทำการพักน้ำที่ความลึกหลายๆ ขั้น