นักดำน้ำ ที่มีอาการเจ็บป่วยและจำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดช่องท้องนั้น อาจจะมีข้อสงสัยว่า จะกลับไปทำการดำน้ำได้เมื่อไหร่?
อ่าน ผ่าตัดบริเวณช่องท้อง … จะกลับมาดำน้ำได้เมื่อไหร่ ???Category: Scuba Diving
รู้จักกับ PFO (Patent Foramen Ovale) หรือสภาวะหัวใจห้องบนมีรูรั่วถึงกัน
มาทำความรู้จักกับ PFO (Patent Foramen Ovale) หรือ สภาวะผนังของหัวใจระหว่างหัวใจห้องบนซ้ายและขวามีรูรั่ว … ความผิดปกติของผนังหัวใจแต่กำเนิดชนิดนี้ มีข้อห้ามหรือเสี่ยงในการดำน้ำ อย่างไร
อ่าน รู้จักกับ PFO (Patent Foramen Ovale) หรือสภาวะหัวใจห้องบนมีรูรั่วถึงกันSafety Stop กับการเตะขาเบาๆ
แง่มุมเล็กๆ ของเรื่อง Safety Stop ที่นักดำน้ำทุกคนควรเข้าใจ และทำได้ถูกต้อง
อ่าน Safety Stop กับการเตะขาเบาๆการใส่ คอนแทคเลนส์ ดำน้ำ!
การใส่คอนแทคเลนส์ดำน้ำควรใช้ soft lenses แบบใช้วันต่อวันเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากแบคทีเรียในน้ำทะเล หลีกเลี่ยงการใช้ hard lenses และคอนแทคเลนส์ประเภท Big Eye เนื่องจากเสี่ยงต่อการเกิดฟองอากาศและแผลที่กระจกตา ควรระมัดระวังเรื่องการหลุดของเลนส์ขณะเคลียร์น้ำออกจากหน้ากากหรือถอดใส่หน้ากากใต้น้ำ
อ่าน การใส่ คอนแทคเลนส์ ดำน้ำ!Vertigo: วิธีป้องกันอาการโลกหมุนในขณะที่ดำน้ำลึก
Vertigo ขณะดำน้ำเกิดจากแรงดันที่ไม่สมดุลระหว่างหูชั้นกลางซึ่งส่งผลให้นักดำน้ำรู้สึกวิงเวียนศรีษะ อาจจะมีอาการคลื่นไส้และอาเจียนร่วมด้วย การป้องกันทำได้โดยการเคลียร์หูอย่างระมัดระวังและสม่ำเสมอทั้งในขาขึ้นและขาลง นอกจากนี้ควรตรวจสอบการสวมฮูดดำน้ำให้แน่นพอดีทั้งสองข้าง
อ่าน Vertigo: วิธีป้องกันอาการโลกหมุนในขณะที่ดำน้ำลึกการดำน้ำกลางคืน (Night Dive)
หากท่านเป็นคนที่ดำน้ำเฉพาะเวลากลางวัน ท่านต้องรู้ตัวว่าได้ขาดอะไรไปหลายอย่าง สำหรับการดำน้ำทีเดียว สัตว์ทะเลหลายชนิดแอบซ่อนตัวอยู่ในเวลากลางวันและจะออกมาหากินในเวลากลางคืนเท่านั้น บางครั้งเวลาไปดำน้ำกลางคืนก็เคยพบเห็นสัตว์ที่ไม่ค่อยเห็นกลางวัน
อ่าน การดำน้ำกลางคืน (Night Dive)ดำน้ำลึก (Deep Diving) ยังไงดี
เมื่อต้องดำน้ำลึกมากขึ้น มากกว่า 18 เมตรขึ้นไป มีขั้นตอนปฏิบัติอะไรที่นักดำน้ำควรทราบและปฏิบัติตาม เพื่อความปลอดภัยในการดำน้ำลึกบ้าง
อ่าน ดำน้ำลึก (Deep Diving) ยังไงดีการขึ้นสู่ผิวน้ำอย่างปลอดภัย
การขึ้นสู่ผิวน้ำ เมื่อเราจะจบการดำน้ำในแต่ละไดฟ์นั้น เป็นเรื่องที่สำคัญมาก อาจจะเรียกได้ว่า เป็นเรื่องสำคัญที่สุดเรื่องหนึ่งในการดำน้ำก็ว่าได้ เนื่องจากอันตรายที่หากจะมีจากการดำน้ำ มักจะเกิดขึ้นขณะขึ้นจากความลึกสู่ความตื้นมากกว่า
อ่าน การขึ้นสู่ผิวน้ำอย่างปลอดภัยวิธีการคุมการจมลอย: การเติมลมและปล่อยลมจาก BCD
การปรับการจมลอยในการดำน้ำต้องใช้ทักษะเบื้องต้นเช่นการเติมและปล่อยลมจาก BCD โดยควบคุมให้ตัวเราเป็นกลางตลอดเวลา เพื่อป้องกันความเหนื่อยล้าและควบคุมระดับคาร์บอนไดออกไซด์ การปรับการจมลอยตลอดเวลาเป็นวิธีที่ช่วยให้เราไม่จมหรือไม่ลอยมากเกินไป
อ่าน วิธีการคุมการจมลอย: การเติมลมและปล่อยลมจาก BCDก่อนลงดำน้ำ
การเตรียมตัวก่อนดำน้ำเป็นสิ่งสำคัญมากเพื่อความปลอดภัยและสนุกสนาน โดยควรทำการตรวจสอบบัดดี้ (Buddy Check) ให้แน่ใจว่าอุปกรณ์ทุกชิ้นทำงานได้ดี รวมถึงอากาศในถังและแหล่งอากาศสำรอง นอกจากนี้ ควรฝึกทบทวนการดำน้ำเพื่อความมั่นใจ และหลีกเลี่ยงการรีบเร่งลงน้ำหากยังไม่พร้อม
อ่าน ก่อนลงดำน้ำ