SurfGF และ GF99 เป็นค่าที่ dive computer แสดงเพื่อช่วยประเมินภาวะ Supersaturation ของร่างกายระหว่างและหลังการดำน้ำ โดย SurfGF บอกค่า GF ที่ผิวน้ำหากขึ้นทันที ส่วน GF99 แสดงค่าปัจจุบันในขณะดำน้ำ
อ่าน Surface GF & GF99Category: Safety Divers
GF Low / GF High ใน Decompression Model
divecom ส่วนใหญ่เลือกตั้งค่าความ Conservative ได้ ยิ่งเราตั้งค่า GF ให้สูงขึ้นเท่าไหร่ ความเสี่ยงของการเกิด DCS ก็จะสูงขึ้นตามไปด้วย เปรียบได้ว่า GF เป็นการ set ขอบเขตความปลอดภัยที่เรารับได้
อ่าน GF Low / GF High ใน Decompression Modelสถานะ On Gases, Saturation, Supersaturation
ขณะดำน้ำ ร่างกายสะสมและขจัด Nitrogen ตามแรงดันที่เปลี่ยนแปลง โดยมีสถานะ On Gases, Saturation และ Supersaturation ซึ่งส่งผลต่อการขจัดก๊าซ หากขึ้นสู่ผิวน้ำเร็วเกินไป อาจเพิ่มความเสี่ยง DCS การพักผ่อนหลังดำน้ำช่วยลด Silent Bubble ทำให้ดำน้ำปลอดภัยขึ้น
อ่าน สถานะ On Gases, Saturation, Supersaturationหมดห่วงอากาศหมดด้วยกฎ Rule of Third
Rule of third เป็นเทคนิคการจัดการอากาศสำหรับนักดำน้ำ โดยแบ่งอากาศออกเป็น 3 ส่วน สำหรับเดินทางไป เดินทางกลับ และสำรองในกรณีฉุกเฉิน เพื่อเพิ่มความปลอดภัยและหลีกเลี่ยงสถานการณ์อากาศหมดในขณะดำน้ำ
อ่าน หมดห่วงอากาศหมดด้วยกฎ Rule of ThirdCave Diving – การดำน้ำในถ้ำ
การดำน้ำในถ้ำเคยถูกมองว่าอันตรายเพราะอุบัติเหตุและการขาดเทคโนโลยีในอดีต แต่ปัจจุบันมีการพัฒนาอุปกรณ์และความรู้ทำให้ปลอดภัยขึ้น ความท้าทายและความงดงามของถ้ำใต้น้ำดึงดูดนักดำน้ำที่มีประสบการณ์ ซึ่งก็ต้องอาศัยการฝึกฝนและความรู้เฉพาะทาง เพื่อความปลอดภัยในทุกการดำสำรวจ
อ่าน Cave Diving – การดำน้ำในถ้ำโรคหอบหืดกับการดำน้ำ
โรคหอบหืดเป็นปัญหาสำหรับนักดำน้ำ หากคุณหรือผู้ที่คุณดูแลมีโรคหอบหืด ควรปรึกษาแพทย์เพื่อประเมินความเหมาะสมในการดำน้ำ ตรวจสอบการทดสอบสมรรถภาพปอดและความรุนแรงของโรค
อ่าน โรคหอบหืดกับการดำน้ำSurfGF & GF99
รู้จักการตั้ง GF High และ GF Low การดูค่า GF99 และ SurfGF ในการดำน้ำขึ้นสู่ที่ตื้นอย่างปลอดภัย ลดความเสี่ยงในการเกิด Decompression Sickness
อ่าน SurfGF & GF99แบ่งปันประสบการณ์บ้านหมุนใต้น้ำ
ผู้เขียนมีอาการบ้านหมุนและอาเจียนหนักหลังดำน้ำที่ชุมพร ต้องไปโรงพยาบาลและได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคการบาดเจ็บจากแรงดันต่อหู (Otitic Barotrauma) จากการขึ้นสู่ผิวน้ำเร็วเกินไป ควรเคลียร์หูบ่อยๆ และขึ้นลงน้ำช้าๆ เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดอาการดังกล่าว
อ่าน แบ่งปันประสบการณ์บ้านหมุนใต้น้ำแชร์ประสบการณ์เกือบตายจาก Decompression Sickness (DCS) หรือ โรคน้ำหนีบ
จากโพสก่อนหน้า(บ้านหมุนใต้น้ำ) : ได้ไปหาหมอมาทั้งหมด 3 รพ.แล้ว การวินิจฉัยส่วนใหญ่ คือ จะเป็นเกี่ยวกับหู มีหลายคนอินบ๊อกซ์มา หลายคนมากบอกว่าแนะนำให้เราเข้ารพ.สมเด็จพระปิ่นเกล้าโดยด่วนที่สุด
อ่าน แชร์ประสบการณ์เกือบตายจาก Decompression Sickness (DCS) หรือ โรคน้ำหนีบ14 ข้อควรระวังที่คน เรียน Freedive ต้องรู้
การเรียนฟรีไดฟ์สนุกและท้าทาย แต่ควรระวัง 14 ข้อ เช่น ห้ามหายใจแบบ hyperventilation, ไม่ดำน้ำคนเดียว, ใช้บุยเพื่อความปลอดภัย, ห้ามคาบท่อ snorkel ในปาก และเคลียร์หูเบาๆ นอกจากนี้ควรดื่มน้ำเพียงพอ, ทานอาหารให้พอดี, ทำ warm-up dive และเตรียมพร้อมรับมือเหตุฉุกเฉินเสมอ
อ่าน 14 ข้อควรระวังที่คน เรียน Freedive ต้องรู้