การเตรียมตัวก่อนดำน้ำเป็นสิ่งสำคัญมากเพื่อความปลอดภัยและสนุกสนาน โดยควรทำการตรวจสอบบัดดี้ (Buddy Check) ให้แน่ใจว่าอุปกรณ์ทุกชิ้นทำงานได้ดี รวมถึงอากาศในถังและแหล่งอากาศสำรอง นอกจากนี้ ควรฝึกทบทวนการดำน้ำเพื่อความมั่นใจ และหลีกเลี่ยงการรีบเร่งลงน้ำหากยังไม่พร้อม
อ่าน ก่อนลงดำน้ำCategory: Scuba Diving
การเรียนดำน้ำ SCUBA Diving
การเรียนดำน้ำแบบ SCUBA (Self Contained Underwater Breathing Apparatus) คือ การดำน้ำลึกโดยใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจที่ติดกับตัวนักดำน้ำไป ทำให้สามารถดำน้ำได้โดยอิสระและเคลื่อนที่ไปมาใต้น้ำได้โดยไม่ติดกับสายอากาศที่เครื่องอัดอากาศบนผิวน้ำ
อ่าน การเรียนดำน้ำ SCUBA Divingทำไมจึงไม่ควรเอาหน้ากากดำน้ำไว้บนหน้าผาก
ไม่ควรเอาหน้ากากดำน้ำไว้บนหน้าผาก เพราะเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่านักดำน้ำกำลังประสบปัญหา อาจทำให้หน้ากากหลุดหาย และทำให้เกิดฝ้าได้ง่ายขึ้น วิธีที่ปลอดภัยคือคล้องหน้ากากไว้รอบคอหรือใส่ไว้บนใบหน้าจนกว่าจะขึ้นจากน้ำแล้วถอดอุปกรณ์ออก
อ่าน ทำไมจึงไม่ควรเอาหน้ากากดำน้ำไว้บนหน้าผากThe Best Diving Day at Samaesan 4 July 2010
ความงดงามของโลกใต้น้ำที่แสมสาร และความตื่นเต้นจากการได้เจอฉลาม Grey Reef Shark และ Great Barracuda ที่ระดับความลึก 20 เมตร ฝูงปลาหลากหลายชนิดรวมถึงกระเบน ทำให้การดำน้ำครั้งนี้คุ้มค่ามาก
อ่าน The Best Diving Day at Samaesan 4 July 2010เกาะสาก University
แต่ก่อน ก่อนฉันได้มาดำน้ำที่นี่ ไดฟ์ไซต์นี้เรียกกันเฉยๆ ว่า เกาะสาก หากแต่เมื่อครั้งที่ฉันได้มาฝึกไดฟ์มาสเตอร์โดยต้องมาดูแลกลุ่มนักดำน้ำ Open Water กลุ่มใหญ่ ฉันจึงให้ชื่อไดฟ์ไซต์นี้ว่า เกาะสาก University เพราะหากนับจำนวนนักดำน้ำที่มา certify ที่นี่ ฉันว่าคงจะนับได้เป็นเลข 4 หลักต่อปี
อ่าน เกาะสาก Universityต้องเรียนอีกแล้วหรือ?
เรียนไปทำไม? เรียนแล้วได้อะไร? ตอบคำถามนักดำน้ำที่อาจมีคำถามในใจเกี่ยวกับการหลักสูตรวิชามากมายให้เลือกเรียน …เพราะนักดำน้ำที่ดีคือนักดำน้ำที่ใฝ่รู้
อ่าน ต้องเรียนอีกแล้วหรือ?อากาศสำรอง (Gas Reserve)
ความสำคัญของการมีอากาศสำรองในการดำน้ำ ต้องเก็บอากาศสำรองไว้แค่ไหนถึงจะพอดีในการขึ้นสู่ผิวน้ำ บอกเล่าประสบการณ์ที่ต้องแชร์อากาศกับ Buddy ความประมาท การละเลยกฎของความปลอดภัย
อ่าน อากาศสำรอง (Gas Reserve)Deep Stop: ความสำคัญในการทำการพักน้ำที่ความลึกหลายๆ ขั้น
ขอเริ่มต้นกล่าวถึงผู้เขียน นาย Richard L. Pyle ก่อนว่า เขาเป็นนักวิจัยปลา ต้องลงไปเก็บตัวอย่างปลาที่ความลึกต่างๆ ลึกสุดก็ช่วง 180-220 ฟุตหรือประมาณ 36-66 เมตร ลงบ่อยจนนับจำนวนไดฟ์ไม่ถ้วนแล้ว และเริ่มสังเกตถึงอาการป่วยเหมือนๆ กันที่เกิดหลังดำน้ำ คือหลังจากไดฟ์ก็จะเริ่มรู้สึกเหนื่อยหรือคลื่นเหียนวิงเวียนศีรษะ
อ่าน Deep Stop: ความสำคัญในการทำการพักน้ำที่ความลึกหลายๆ ขั้นสปลิตฟิน (Split Fins) กับฟินธรรมดา (Paddle Fins) ใช้แบบไหนดี?
คำถามที่ร้านดำน้ำหรือครูสอนดำน้ำมักจะได้รับอยู่บ่อยๆ เกี่ยวกับฟินใบแยกหรือสปลิตฟิน (Split Fins) กับฟินใบเต็มแบบธรรมดาก็คือ แบบไหนดีกว่ากัน แบบไหนน่าใช้กว่ากัน
อ่าน สปลิตฟิน (Split Fins) กับฟินธรรมดา (Paddle Fins) ใช้แบบไหนดี?Split Fins ทำงานอย่างไร ใช้งานอย่างไร
สปลิตฟิน (Split Fins) ที่หลายคนอยากลองใช้ หลายคนใช้อยู่แล้วแต่ก็ยังสงสัย ว่ามีหลักการทำงานอย่างไร หาคำตอบได้ในบทความนี้
อ่าน Split Fins ทำงานอย่างไร ใช้งานอย่างไร