การฝึกกลั้นหายใจนานๆ ใน Freediving อาจส่งผลต่อความจำระยะสั้นและการควบคุมตนเอง นัก Freedive ระดับสูงมีผลคะแนนทดสอบด้านนี้แย่กว่ากลุ่มอื่นอย่างชัดเจน แม้ยังต้องมีงานวิจัยเพิ่มเติม แต่ควรพักผ่อนและดูแลสมองบ้าง
อ่าน กลั้นหายใจแล้วอ๊อง จริงไหม!?Category: Life & Nature
3 พฤศจิกายน วันแมงกะพรุนโลก (World Jellyfish Day)
วันที่ 3 พฤศจิกายนเป็นวันแมงกะพรุนโลก ตั้งขึ้นเพื่อให้ผู้คนเห็นความสำคัญของแมงกะพรุนมากขึ้น แม้จะเป็นสัตว์มีพิษ แต่แมงกะพรุนมีบทบาทสำคัญในระบบนิเวศทางทะเล เป็นทั้งผู้ล่าแพลงก์ตอนและแหล่งอาหารของสัตว์ทะเลอื่นๆ อีกทั้งยังมีศักยภาพในทางการแพทย์ และการดักจับไมโครพลาสติก
อ่าน 3 พฤศจิกายน วันแมงกะพรุนโลก (World Jellyfish Day)MOD
MOD คือความลึกสูงสุดที่สามารถใช้ก๊าซหายใจได้อย่างปลอดภัย โดยพิจารณาจากค่า PO2 ไม่ให้เกิน 1.4 ATA เพื่อหลีกเลี่ยง CNS Oxygen Toxicity เช่น อาการชักใต้น้ำ ซึ่ง MOD ของอากาศปกติอยู่ที่ 56 เมตร อย่างไรก็ตาม ควรคำนึงถึงอาการ Narcosis และดำน้ำตามระดับการฝึกที่ได้รับเพื่อความปลอดภัย
อ่าน MODวิธีจำแนกความแตกต่างระหว่าง ‘ฉลามเสือดาว’ และ ‘ฉลามกบ’ ระยะวัยอ่อน
การจำแนกฉลามกบและฉลามเสือดาวในระยะวัยอ่อนอาจสร้างความสับสนเนื่องจากลวดลายและขนาดที่คล้ายกัน แนะนำวิธีสังเกตความแตกต่าง เช่น รูปทรงหัว ครีบหลัง และลวดลายบนลำตัว ซึ่งความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับฉลามเหล่านี้มีความสำคัญต่อการอนุรักษ์และการวิจัย
อ่าน วิธีจำแนกความแตกต่างระหว่าง ‘ฉลามเสือดาว’ และ ‘ฉลามกบ’ ระยะวัยอ่อนPartial Pressure คืออะไรกันนะ
Partial Pressure หรือแรงดันย่อยของก๊าซ อ้างอิงจากกฎของ Dalton ซึ่งระบุว่าแรงดันรวมมาจากแรงดันย่อยของก๊าซแต่ละชนิดรวมกัน เมื่อเราดำน้ำ แรงดันย่อยของก๊าซ เช่น Nitrogen และ Oxygen จะเพิ่มขึ้นตามความลึก ส่งผลต่อร่างกาย
อ่าน Partial Pressure คืออะไรกันนะPressure กับการดำน้ำ
แรงดันใต้น้ำแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก ได้แก่ แรงดันชั้นบรรยากาศและแรงดันของน้ำ ซึ่งรวมกันเป็นแรงดันรอบตัว ที่ส่งผลต่อร่างกายและการดำน้ำ เช่น อาการเจ็บหู การลอยตัว และการสะสมไนโตรเจน การเข้าใจแรงดันเหล่านี้จะช่วยให้ดำน้ำได้อย่างปลอดภัยและสนุกยิ่งขึ้น
อ่าน Pressure กับการดำน้ำมาทำความเข้าใจเรื่องการหายใจกันเถอะ
การหายใจที่ถูกต้องช่วยให้ดำน้ำได้ดีขึ้น โดยควรใช้กล้ามเนื้อกระบังลม หายใจเข้า-ออกสม่ำเสมอ และควบคุมจังหวะให้ผ่อนคลาย การฝึกหายใจอย่างเหมาะสมช่วยลดการใช้อากาศ ควบคุม buoyancy ได้ดีขึ้น และลดความเสี่ยงจาก panic
อ่าน มาทำความเข้าใจเรื่องการหายใจกันเถอะSurface GF & GF99
SurfGF และ GF99 เป็นค่าที่ dive computer แสดงเพื่อช่วยประเมินภาวะ Supersaturation ของร่างกายระหว่างและหลังการดำน้ำ โดย SurfGF บอกค่า GF ที่ผิวน้ำหากขึ้นทันที ส่วน GF99 แสดงค่าปัจจุบันในขณะดำน้ำ
อ่าน Surface GF & GF99Compartments, M-Value, Half time
Decompression Model ใช้ Compartments แทนกลุ่มเนื้อเยื่อทางทฤษฎีในการคำนวณการรับและคาย inert gas โดยแต่ละ compartment มีค่า M-Value และ Half-Time ต่างกัน
อ่าน Compartments, M-Value, Half timeสถานะ On Gases, Saturation, Supersaturation
ขณะดำน้ำ ร่างกายสะสมและขจัด Nitrogen ตามแรงดันที่เปลี่ยนแปลง โดยมีสถานะ On Gases, Saturation และ Supersaturation ซึ่งส่งผลต่อการขจัดก๊าซ หากขึ้นสู่ผิวน้ำเร็วเกินไป อาจเพิ่มความเสี่ยง DCS การพักผ่อนหลังดำน้ำช่วยลด Silent Bubble ทำให้ดำน้ำปลอดภัยขึ้น
อ่าน สถานะ On Gases, Saturation, Supersaturation